วันพุธที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2553

สูงวัย จะสะบายใจดีหรือเปล่า

 หากผู้ประกันตนส่งเงิน สมทบครบ 180 เดือน (15 ปี) จะได้รับเงินบำนาญชราภาพ (รับทุกเดือนตลอดชีวิต) ซึ่งสำนักงานประกันสังคม (สปส.) จัดเก็บเงินสมทบกรณีชราภาพ จากนายจ้างและลูกจ้างฝ่ายละ 3% ของค่าจ้างอยู่แล้ว ขณะนี้ยังไม่มีผู้ใดได้รับเงินบำนาญชราภาพ เพราะ สปส. เริ่มเก็บเงินสมทบชราภาพเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2541 จะสามารถจ่ายบำนาญชราภาพได้ในปี 2557 เป็นปีแรก

หลักเกณฑ์รับเงินบำนาญ ชราภาพ คือ ผู้ประกันตนจะได้รับเงิน 15% ของค่าจ้าง 60 เดือนสุดท้าย (ฐานค่าจ้าง 15,000 บาท/เดือน) และถ้าส่งเงินสมทบมากกว่า 15 ปี จะได้รับเพิ่มอีกร้อยละ 1 ทุกๆ ปี ในขณะนี้อยู่ระหว่างการดำเนินการปรับเพิ่มเงินบำนาญ จากอัตรา 15% เป็น 20% ของค่าจ้าง และเพิ่มอัตราผลประโยชน์หลังปีที่ 15 จากเดิม 1% เป็น 1.5% เท่ากับจำนวนปีที่เพิ่มมา เป็นการปรับให้เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจและสังคม

ตัวอย่างวิธีคำนวณของ ผู้ที่มีเงินเดือน 5,000 บาท ดังนี้

นายประกัน มีการนำส่งเงินสมทบฐานเงินเดือน 15,000 บาทโดยตลอด

-เงินสมทบ 6% (ผู้ประกันตน 3% และนายจ้าง 3%) ของ 5,000 บาท คือ 900 บาท/เดือน

-ทำงานมา 15 ปี รวมจ่ายเงินสมทบ 900x12x15 = 162,000 บาท

นายประกัน เกษียณเมื่ออายุ 55 ปี

-บำนาญที่ได้รับ 15% ของ 15,000 บาท คือ 2,250 บาท/เดือน
 พอใช้ไหมนะ ?
ภาวะเงินเฟ้อล่ะ ?

-แต่หากอายุยืนไปถึง 20 ปี รวมรับบำนาญ = 2,250x12x15 = 540,000 บาท

ว่าแต่ว่าเราไม่ได้ 540,000 บาททีเดียวนี้สิ ?

ขอเปลี่ยน เป็นบำเหน็จแทนได้หรือไม่ ถ้าได้ มีหลักเกณฑ์การคิดอย่างไร?

การรับสิทธิประโยชน์ จากบำนาญชราภาพ ไม่สามารถเปลี่ยน หรือเลือกรับสิทธิประโยชน์ได้ เนื่องจากพระราชบัญญัติประกันสังคม กำหนดไว้ว่า

ผู้ประกันตนที่ส่ง เงินสมทบน้อยกว่า 180 เดือน (15 ปี) จะได้รับเงินบำเหน็จชราภาพ โดยผู้ที่ส่งไม่ครบ 12 เดือน มีสิทธิรับเงินบำเหน็จชราภาพเฉพาะส่วนของตนเองกลับคืนทั้งหมดเท่านั้น แต่ถ้าส่งเงินสมทบตั้งแต่ 12 เดือนขึ้นไป แต่ไม่ถึง 180 เดือน (15 ปี) จะได้รับเงินบำเหน็จชราภาพในส่วนของลูกจ้างและนายจ้างที่จ่ายสมทบเข้ากองทุน พร้อมดอกผลตามอัตราที่สำนักงานประกันสังคมกำหนด

หากส่งเงินสมทบครบ 180 เดือน (15 ปี) จึงได้รับเงินบำนาญชราภาพ (รับทุกเดือนตลอดชีวิต)



ให้บริการปรึกษา แนะนำ การประกันชีวิตรูปแบบต่างๆ ของเมืองไทยประกันชีวิต

โครงการเมืองไทย สูงวัย สบายใจ แผน 1 รายเดือน
ไม่มีการตรวจสุขภาพ
คุ้มครองแก่ผู้เอาประกันภัย หากมีความเจ็บป่วยด้วยโรคร้ายแรง

     1. หัวใจวาย (Heart Attack)
     2. มะเร็ง (Cancer)
     3. โรคหลอดเลือดในสมอง (Stroke)
     4. การผ่าตัดเปิดหัวใจด้วยวิธี Bypass (Coronary Artery Bypass Surgery)
     5. ทุพพลภาพสิ้นเชิงและถาวร (Total and Permanent Disability)

เฉลี่ยวันล่ะ  9  บาท

โครงการเมืองไทย บำนาญ เอ85/1(บำนาญ 1,000,000)
วางแผน รับเงิน เดือนล่ะ 10,000 บาท หรือ ปีล่ะ 120,000 บาท

 ให้บริการปรึกษา แนะนำ การประกันชีวิตรูปแบบต่างๆ ของเมืองไทยประกันชีวิต
เมืองไทยประกันชีวิต จังหวัดลำพูน  เมืองไทยประกันชีวิต จังหวัดเชียงใหม่

จะบำเหน็จ จะบำนาญ จะคุ้มครองชีวิต จะคุ้มครองโรคร้าย จะทำเป็นมรดก
จะแบบไหนเราสามารถจัดให้ได้ 

เมืองไทย ประกันชีวิต ของคนหัวคิดทันสมัย

ที่ปรึกษา ประกันชีวิต เมืองไทยประกันชีวิต ( สะสม 7 )
คุณ ณพล ธนัชพลังกร
โทร. 082-188-568-3

แบบ ประกัน เมืองไทย ประกันชีวิต